![]() |
Conventional System Life Cycle versus KM System Life Cycle วงชีวิตการพัฒนาระบบแบบดั้งเดิม กับ วงจรพัฒนาการจัดการเรียนรู้ |
➤ Key Differences ความแตกต่างที่สำคัญ
- นักวิเคราะห์ระบบจะกระทำกับสารสนเทศที่มาจากความต้องการของผู้ใช้
- ผู้ใช้งานจะรู้ปัญหาเป็นอย่างดีแต่ไม่รู้ทางแก้ ตรงกันข้ามผู้เชียวชาญจะรู้ทั้งปัญหาและทางแก้
- วงจรการพัฒนาระบบแบบดั้งเดิมโดยทั่วไปจะประกอบด้วยขั้นตอนที่เป็นลำดับ มาก่อนมาหลัง KM SLC การพัฒนาแบบเพิ่มพูลพัฒนาทีละส่วนจนเสร็จก่อนถึงจะนำไปใช้ได้
- การทดสอบระบบ ปกติจะกระทำขั้นตอนสุดท้ายของวงจร แต่ถ้าป็น KM system testing จะเข้าไปมีส่วนตั้งแต่เริ่มต้นเลย
- วงจรการพัฒนาระบบแบบดั้งเดิมขับเคลื่อนไปด้วยกระบวนการ หรือเรียกว่า มีการกำหนดความต้องการและค่อยสร้างมันขึ้นมา แต่ ถ้าเป็นวงจรชีวิตของ KM จะมุ่งเน้นถึงผลลัพธ์ ไม่ได้มุ่งเน้นถึงกระบวนการ เราจะต้องได้ระบบนี้ขึ้นมาใช้
➤Key Similarities หลักที่สำคัญ
- ทั้งสองของวงจรเริ่มต้นด้วยปัญหาและสิ้นสุดด้วยทางแก้
- ทั้งสองเริ่มต้นจากการไปเก็บรวบรวมข้อมูลสารสนเทศจากผู้ใช้
- ระบบทำงานได้ถูกต้อง ได้ผลลัพธ์ที่ถูกต้อง มันเป็นระบบที่เหมาะสม ตรงต่อความต้องการของผู้ใช้งาน
- ผู้พัฒนาระบบทั้งสองแบบมักจะเลือกเครื่องมือที่เหมาะสมหลายๆวิธี หลายเครื่องมือมาใช้สำหรับการออกแบบระบบที่เขาคาดหวัง ที่เกี่ยวข้องทั้งหมด
➤ผู้ใช้กับผู้เชี่ยวชาญ
- ถ้าเป็นระบบแบบดั้งเดิมผู้ใช้จะขึ้นตรงต่อระบบจ่อความต้องการค่อนข้างสูงแต่ผู้เชียวชาญจะต่ำ จนถึงไม่เลย
- ความร่วมมือ ต้องการความร่วมมือจากผู้ใช้ แต่ผู้เชี่ยวชาญไม่ต้องการ
- ความแปรปรวน ความคลุมเคลือ ผู้ใช้จะน้อย แต่ผู้เชี่ยวชาญมาก
- ความรู้เกี่ยวกับปัญหา ผู้ใช้จะรู้ปัญหามาก ผู้เชี่ยวชาญค่อนข้างกลางๆ-น้อย
- การมีส่วนร่วมผู้ใช้จะเอาสารสนเทศที่ระบบสร้างขึ้นมาใช้งาน แต่ผู้เชี่ยวชาญเอาสารสนเทศที่ระบบสร้างขึ้นมาใช้งาน
- ความพร้อมในการพัฒนาระบบ ผู้ใช้ค่อนข้างพร้อมใช้งาน ผู้เชี่ยวชาญไม่ เพราะ
เขาจะไม่เปิดเผยก็ได้
➤ขั้นตอนของวงจรการพัฒนาระบบการจัดการความรู้มี 8 ขั้นตอน
- ประเมินโครงสร้างเพื่อนฐานที่มีอยู่
- มีความรู้อะไรมั้ยที่จะหายไปจากการเกษียรอายุ แต่เขายังไม่ได้ถ่ายทอดทั้งหมดมันก็จะหายปพร้อมกับตัวเขา หรือหายไปจากการโอนย้ายไปอีกฝ่ายนึง
- ระบบ KM ที่นำเสนอต้องนำมาใช้ในหลายๆพื้นที่ หลายๆฝ่ายหรือป่าว อาจจะต้องมีความซับช้อนมากขึ้น
- ผู้ชี่ยวชาญมีอยู่รึป่าว มีความตั้งใจรึป่าว
- ปัญหาต่างๆที่เป็นคำถามที่ต้องการคำตอบต้องใช้ประสบกาณยาวนานหลายๆปีรึป่าว ต้องใช้ tacit รึป่าว
2.จัดตั้งทีม KM
- ผู้ที่เป็นหลัก ผู้ที่เกี่ยวข้องกับระบบ KM
- ความสามารถของสมาชิกในทีม
- ขนาดของทีม ทีมที่จะประสบความสำเร็จ ขนาด 7 คนโดยเฉลี่ย
- ความซับซ้อนของโครงการ ถ้าซับซ้อนมากโอกาสที่ทีมจะสำเร็จน้อย
- ภาวะผู้นำ ความสามรถที่จะดึงดูดให้ลูกน้อมาทำงานด้วยความเต็มใจ สั่งไปแล้วลูน้องไม่ทำคือไม่มี
- ภาวะผู้นำ แรงจูงในของทีม
- ไม่สัญญามากไปกว่าสิ่งที่เราจะส่งมอบ สิ่งที่เป็นความเป็นจริงของระบบที่เราจะส่งมอบ
3. แหล่งความรู้
- ความรู้ที่ชัดเจนจับในที่เก็บจากสื่อต่าง ๆ
- ความรู้ที่เงียบสงบถูกบันทึกจากผู้เชี่ยวชาของ บริษัท โดยใช้เครื่องมือและวิธีการต่าง ๆ
- นักพัฒนาจะไปดึงความรู้จากผู้เชียวชาญมาสร้างฐานความรู้มาไว้ในระบบ เพื่อนที่จะมา input ในการประมวลผลและได้ความรู้ต่างๆ
4. ออกแบบพิมพ์เขียว
- ขั้นของการออกแบบพิมพ์เขียวของระบบ KM ออกแบบได้ในหลายๆทาง สุดท้ายแล้วขอบเขตที่เราต้องการมันจะต้องถูกคำนึงถึงผลประโยชน์ที่ได้รับ
- มีการตัดสินใจอยู่บนองค์ประกอบของความต้องการของระบบ
- มีการพัฒนาระบบดับชั้นที่สำคัญของสถาปัตยกรรมการพัฒนาระบบ Km
- ระบบนี้อาจจะต้องสามารถใช้งานระว่างโครงสร้างพื้นฐานที่แตกต่างกันได้ สามารถขยายขนาดได้
5. ทดสอบระบบ
- วิธีการตรวจสอบความเหมาะสมของระบบ เพื่อที่จะแน่ใจว่าระบบมีฟังก์ชั่นการทำงานที่เหมาะสม
- วิธีการตรวจสอบเพื่อที่จะแน่ใจว่าระบบได้ผลลัพธ์ที่ถูต้อง
- ตรวจสอบความถูกต้องของ KM ที่ไม่ได้ผิดพลาดจากความประมาท เช่นเราจะต้องเขียนโปรแกรมให้อ่านแต่ตัวเลข
6. ใช้งานระบบ
- เปลี่ยนไปสู่ระบบ Km ใหม่
- การเปลี่ยนข้อมูลที่อยู่ในเอกสาร หรือกระดาษให้อยู่ในรูปแบบ DATA / file
- อบรมผู้ใช้งาน
- ความผิดพลาดเชิงเหตุเชิงผล
- ตรวจถึงความคลุมเครือ
- ตรวจความผิดพลาดระหว่าง เราตรวจแล้วมันถูกแต่จริงๆแล้วมันผิด
7. การเอาระบบไปใช้
- เป้าหมายคือต้องการลดแรงต่อต้านที่จะเกิดขึ้นจากผู้เชียวชาญ
- ผู้ใช้
- พนักงาน
- ผู้ที่ก่อกวน
- สะท้อนออกมาในรูปปฏิกิริยาโต้ตอบ เช่น บอกให้จะต้องกำหนด pass ไม่ตำว่า 8 หลัด เขาอาจจะไม่ทำตาม หลีกเลี่ยง ก้าวร้าว
8. ประเมินผลจากการที่เอาระบบไปใช้แล้ว
- ผลกระทบ
- คน
- ประสิทธิภาพของธุรกิจ
- ต้องใช้การตัดสินใจที่มีคุณภาพ จะสามารถทำให้เราแก้ไขผลกระทบที่เกิดขึ้นได้
- ทัศนคติของผู้ใช้งาน ผลลัพธ์ของการเอาระบบไปใช้ จะให้มองเห็นถึง
- ต้นทุน เช่น ค่าใช้จ่าย วัสดุ สนง. กระดาษ กล้อง รวมถึงต้อนทุนที่เราจะปรับระบบให้ทันสมัย
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น